บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2018

(บล็อกที่ 8) การใช้งานจอ Character LCD กับ Arduino แบบละเอียดข

รูปภาพ
อเดอร์ ข้อมูลร้าน ดูล่าสุด ค้นหา สินค้า หน้าแรก แจ้งชำระเงิน บทความ เว็บบอร์ด เกี่ยวกับเรา ติดต่อเรา ออกบิล วิธีการสั่งซื้อสินค้า หน้าแรก บทความ การใช้งานจอ Character LCD กับ … การใช้งานจอ Character LCD กับ Arduino แบบละเอียด เมื่อ  2 ปีที่ผ่านมา โดย  เจ้าของร้าน คำว่า LCD ย่อมาจากคำว่า Liquid Crystal Display ซึ่งเป็นจอที่ทำมาจากผลึกคริสตอลเหลว หลักการคือด้านหลังจอจะมีไฟส่องสว่าง หรือที่เรียกว่า Backlight อยู่ เมื่อมีการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปกระตุ้นที่ผลึก ก็จะทำให้ผลึกโปร่งแสง ทำให้แสงที่มาจากไฟ Backlight แสดงขึ้นมาบนหน้าจอ ส่วนอื่นที่โดนผลึกปิดกั้นไว้ จะมีสีที่แตกต่างกันตามสีของผลึกคริสตอล เช่น สีเขียว หรือ สีฟ้า ทำให้เมื่อมองไปที่จอก็จะพบกับตัวหนังสือสีขาว แล้วพบกับพื้นหลังสีต่างๆกัน จอ LCD จะแบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ๆตามลักษณะการแสดงผลดังนี้ 1.  Character LCD  เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16x2 หมายถึงใน 1 แถว มีตั...

(บล็อกที่ 7) การใช้งาน Character LCD Display กับ Arduino (ตอนที่1 - รูปแบบการเชื่อมต่อแบบ Parallel) 12

รูปภาพ
บทความ การใช้งาน Character LCD Display กับ Arduino (ตอนที่1 - รูปแบบการเชื่อมต่อแบบ Parallel) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ  LCD Display         จอ Liquid Crystal Display (LCD) เป็นจอแสดงผลรูปแบบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานกันกับระบบสมองกลฝังตัวอย่างแพร่หลาย จอ LCD มีทั้งแบบแสดงผลเป็นตัวอักขระเรียกว่า Character LCD ซึ่งมีการกำหนดตัวอักษรหรืออักขระที่สามารถแสดงผลไว้ได้อยู่แล้ว และแบบที่สามารถแสดงผลเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ได้ตามความต้องการของผู้ใช้งานเรียกว่า Graphic LCD นอกจากนี้บางชนิดเป็นจอที่มีการผลิตขึ้นมาใช้เฉพาะงาน ทำให้มีรูปแบบและรูปร่างเฉพาะเจาะจงในการแสดงผล เช่น นาฬิกาดิจิตอล เครื่องคิดเลข หรือ หน้าปัดวิทยุ เป็นต้น        โครงสร้างโดยทั่วไปของ LCD             โครงสร้างของ LCD ทั่วไปจะประกอบขึ้นด้วยแผ่นแก้ว 2 แผ่นประกบกันอยู่ โดยเว้นช่องว่างตรงกลางไว้ 6-10 ไมโครเมตร ผิวด้านในของแผ่นแก้วจะเคลือบด้วยตัวนำไฟฟ้าแบบใสเพื่อใช้แสดงตัวอักษร ตรงกลางระหว่างตัวนำไฟฟ้าแบบใสกับผลึกเหลวจะมีชั้นของสารที่ทำให้โมเ...